บาคาร่าออนไลน์ ฟรีเครดิต สมัครสมาชิกบาคาร่าออนไลน์มีทีมงานดูแลตลอด 24 ชม.

บาคาร่าออนไลน์ ฟรีเครดิต สมัครสมาชิก ทีมงานดูแลตลอด 24 ชม

สุขภาพ-เลือดกำเดาไหล

“เลือดกำเดาไหล” อาจเสี่ยง 4 โรคอันตราย

สัญญาณอันตรายของโรคร้ายจากอาการ “เลือดกำเดาไหล” มีอะไรบ้าง

รศ. พญ.ดารินทร์ ซอโสตถิกุล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ระบุว่า เลือดกำเดาไหล (Epistaxis) คือภาวะเลือดออกทางจมูก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ภาวะเลือดออกทางจมูกด้านหน้า และภาวะเลือดออกทางจมูกด้านหลังโพรงจมูก ซึ่งส่วนใหญ่มักมีสาเหตุที่อันตรายกว่าภาวะเลือดออกทางจมูกด้านหน้า

ดังนั้นเมื่อเลือดกำเดาไหล อาจเป็นสัญญาณเตือนภัยของโรค เช่น

  1. เนื้องอก

สาเหตุ: มะเร็ง หรือเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงที่มีเส้นเลือดมาเลี้ยง เกิดขึ้นในจมูก ไซนัส หรือหลังโพรงจมูก

อาการ: เลือดออกเป็นบางครั้ง หรือเลือดออกจมูกปริมาณมากควรส่องกล้องตรวจโพรงจมูก หรือเอกซเรย์เพื่อตรวจวินิจฉัย

  1. การระคายเคือง หรือบาดเจ็บในจมูก

สาเหตุ: แคะจมูกบ่อย ได้รับแรงกระแทกที่จมูก สั่งน้ำมูกแรงๆ อากาศแห้งความกดอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น ขึ้นเครื่องบิน

อาการ: เลือดมักออกไม่มาก และเป็นระยะเวลาสั้นๆ อาจมีเลือดออกช้ำในช่วงที่ใกล้หาย

  1. การอักเสบในโพรงจมูก

สาเหตุ: จากการติดเชื้อไวรัส ภูมิแพ้ ไซนัสอักเสบ ใช้เครื่องอัดอากาศขณะหลับ

อาการ: มีเลือดออกปนมากับน้ำมูก

  1. ความผิดปกติทางกายวิภาค

สาเหตุ: ผนังกั้นช่องจมูกคด หรือมีกระดูกงอกผิดที่ รวมถึงมีรูทะลุทำให้เกิดความไม่สมดุลของอากาศ

อาการ: เลือดมักไหลในจมูกข้างเดิม และเป็นซ้ำในจุดที่ผนังกั้นช่องจมูกคดหรือมีกระดูกงอก

สุขภาพ-เลือดกำเดาไหล

อ่านข่าวเพิ่มเติม : เตือนฟันผุ อย่าปล่อยไว้ ยกเคสคนไข้ลามติดเชื้อ เจอหนองในช่องเยื่อหุ้มปอดเพียบ

ข่าวสุขภาพ

เตือนฟันผุ อย่าปล่อยไว้ ยกเคสคนไข้ลามติดเชื้อ เจอหนองในช่องเยื่อหุ้มปอดเพียบ

เตือนฟันผุ อย่าปล่อยไว้ ยกเคสคนไข้ลามติดเชื้อ เจอหนองในช่องเยื่อหุ้มปอดเพียบ

หมอมนูญ เตือนหมั่นดูแลสุขภาพช่องปาก ยกเคสคนไข้ฟันผุ แม้ไม่ปวดฟัน ไม่เจ็บเหงือก แต่ติดเชื้อในรากฟัน ทำเกิดหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด ต้องเจาะออก 1,200 ซี.ซี.เรียกว่าเป็นภัยใกล้ตัวสำหรับ ฟันผุ ซึ่งนอกจากจะส่งผลเสียต่อช่องปาก บางครั้งยังอาจมีอันตรายต่อร่างกายมากกว่าที่หลายคนคาดคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ วันที่ 26 กันยายน 2565 นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ แพทย์เฉพาะทางด้านโรคระบบการหายใจ ผู้ป่วยหนัก และโรคผู้สูงอายุ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โพสต์ผ่านทางแฟนเพจเฟซบุ๊ก หมอมนูญ ลีเชวงวงศ์ FC เตือนอันตรายที่ตามมาจากอาการฟันผุ เพราะอาจเกิดการติดเชื้อในรากฟัน ส่งผลให้เกิดหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด (Empyema Thoracis) ได้หมอมนูญ เล่าเคสของ ผู้ป่วยชายอายุ 53 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการไอ มีเสมหะสีเขียว ๆ เจ็บที่หน้าอกข้างขวาเวลาไอ และมีไข้ 1 สัปดาห์ พบว่าไม่ปวดฟัน ไม่เจ็บเหงือก โดยไม่มีโรคประจำตัว ไม่กินเหล้า และไม่สูบบุหรี่ตรวจร่างกาย มีไข้ต่ำ ๆ ฟังปอดข้างขวาได้ยินเสียงลดลง เจาะเลือด พบเม็ดเลือดขาวในเลือดสูง 16,030 เอกซเรย์ เห็นน้ำในปอดข้างขวา เมื่อทำคอมพิวเตอร์ปอดเห็นก้อนน้ำหลายก้อนเกาะอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอดข้างขวา

ข่าวสุขภาพ

จากนั้นจึงรักษาด้วยการใส่สายระบายน้ำผ่านทางผิวหนังเข้าเยื่อหุ้มปอดข้างขวา 2 ตำแหน่ง ได้หนองสีเหลืองขุ่น มีกลิ่นเหม็น 1,200 ซี.ซี. ย้อมเชื้อพบแบคทีเรียทั้งกรัมบวกและกรัมลบ (gram negative bacilli, gram positive cocci in pairs and chains, gram positive bacilli) ให้ยาปฏิชีวนะทางเส้นเลือดครอบคลุมทั้งเชื้อแบคทีเรียที่ต้องการและไม่ต้องการออกซิเจน เพาะเชื้อแบคทีเรียขึ้น Streptococcus constellatus คงมีอีกหลายเชื้อ แต่เพาะไม่ขึ้นปรึกษาทันตแพทย์ เอกซเรย์พบฝีหนองที่รากฟัน (dental root abscess) ต้องถอนฟันทั้งหมด 9 ซี่ ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้ ผู้ป่วยไม่รู้สึกปวดฟันใด ๆ หลังให้ยาปฏิชีวนะทางเส้นเลือด 1 สัปดาห์ อาการดีขึ้น เอกซเรย์ปอดดีขึ้น สุดท้ายนี้ จึงยกเคสดังกล่าวเพื่อเตือนให้ทุกคนต้องดูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้ดี และอย่าปล่อยให้ฟันผุ